พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
-เหรียญหล่อเจ้า...
-เหรียญหล่อเจ้าสัว วัดกัลยาณมิตรฯ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ เนื้อเงินผสมขี้นกเขาเปล้า (ห่วงเชื่อม) ปี 2558
-เจ้าสัวรุ่นนี้ จุดประสงค์ดี-มวลสารดี-พิธีใหญ่ ดังนี้
จุดประสงค์ดี คือ จัดสร้างเพื่อเป็นที่ระลึกที่ในหลวงทรงโปรดพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร
มวลสารดี จากมวลสารที่เข้มขลัง 5 รายการ ตามรายละเอียดที่ลงไว้
พิธีใหญ่ ด้วยบทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ด้วยเกจิที่เข้มขลัง 8 ท่าน
-พิธีมหาพุทธาภิเษก ณ.พระอุโบสถวัดกัลยาณมิตรฯ ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ด้วยการปลุกเสกจากพระเกจิชื่อดังหลายท่านร่วมพระพุทธมนต์ บทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ดังรายนามพระเกจิชื่อดังและสายตรงพระเจ้าสัว คือ
1.เจ้าคุณเที่ยง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.
2.หลวงพ่อคง วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
3.หลวงพ่อพร วัดบางแก้ว นครปฐม
4.หลวงพ่ออวยพร วัดดอนยายหอม นครปฐม
5.หลวงพ่อมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
6.หลวงพ่อเสงี่ยม วัดบ้านทวน กาญจนบุรี
7.หลวงพ่อตี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี
8.หลวงพ่อย้อน วัดโตนดหลวง เพชรบุรี
-เจ้าสัว เจริญ และ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี เป็นประธานเททองหล่อเหรียญพระเจ้าสัวรุ่นนี้ ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14.50 น. ณ.มลฑลพิธีข้างพระวิหารหลวง วัดกัลยาณมิตรฯ
ณ.สถานที่ที่เคยเททองหล่อ เหรียญเจ้าสัว รุ่นแรก ของหลวงปู่บุญ เมื่อ 84 ปีที่แล้ว
สุดยอดมวลสารพระเจ้าส้วรุ่นนี้ ประกอบด้วย
1.ชนวนก้านช่อพระชัย หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
2.ช่อพระเจ้าสัว วัดกลางบางแก้ว รุ่น3
3.ทองคำบางสะพาน จ.ประจวบฯ
4.ขี้นกเขาเปล้า ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
5.เงินพดด้วงดวงตราประจำรัชกาลที่ 3 (สัญลักษณ์ความเป็นเจ้าสัว)
แต่ละเบ้าโลหะประกอบด้วย
1.แผ่นทองคำจารดวงประสูติ 1 แผ่น น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
2.แผ่นทองคำจารดวงตรัสรู้ 1 แผ่น น้ำหนัก 8 กรัม
3.แผ่นพระยันต์มหาเศรษฐี น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
4.แผ่นทองแดงลงยันต์ 108 พระยันต์ นะปถะมัง 14 นะ รวม 122 แผ่น
5.แผ่นพระยันต์จารอักขระ โดยพระมหาเถระที่เชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนาสายหลวงปู่บุญ รวม 8 องค์ๆละ 1 แผ่น
ภาษาจีนด้านหลังของเจ้าสัวรุ่นนี้คือ
座山 จีนกลาง อ่านว่า “จั่วซัน”
-ถ้าแต้จิ้ว อ่านว่า “จ่อซัว” หมายถึง “เจ้าสัว” เพื่อเป็นมงคลและมั่งคั่ง ของผู้ที่ได้บูชาครอบครัว
-วัดกัลยาณมิตรฯ จึงถือว่าเป็น วัดเจ้าสัวโดยแท้จริง สืบเนื่องจากการสร้างเหรียญเจ้าสัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว รุ่นแรก ผู้ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญในการสร้างพระชุดนี้คือ พระวินัยกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรในสมัยนั้น โดยทำพิธีเททองหล่อ ณ. วัดกัลยาณมิตรฯ ในปี 2474
******************************************************
“ผู้สร้างวัดและความสำคัญของ วัดกัลยาณมิตรมหาวรวิหาร”
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓
เจ้าพระยานิกรบดินทร (เจ้าสัวโต ต้นสกุลกัลยาณมิตร) ว่าที่สมุหนายก
ชื่อจีนว่า เต๋า แซ่อึ้ง เมื่อครั้งยังเป็นพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดี
กลาง (ชื่อกรมในสมัยโบราณ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีไพร่พล
ตลอดจนการเกณฑ์ชายฉกรรจ์เข้ามาฝึกอาวุธและวิชาการรบ เพื่อเป็น
กำลังสำรองเวลาบ้านเมืองมีศึกสงคราม) ได้อุทิศที่บ้านและซื้อที่ดิน
บริเวณใกล้เคียงเพิ่มเติมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างพระอาราม ที่ดินบริเวณ
ที่จะสร้างวัดกัลยาณมิตรนี้เดิมในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่มีดิน เป็นแม่น้ำ
ดอนขึ้น ครั้งกรุงธนบุรีเป็นที่จอดแพได้ ครั้นนานวันผันกลับดอนเป็นดิน
กลายเป็นที่ตั้งบ้านเรือนของพ่อค้าชาวจีนฮกเกี้ยนที่ได้รับพระราชทาน
ที่ดินจากพระมหากษัตริย์ไทย เช่น หลวงพิชัยวารี (เจ้าสัวมั่ง แซ่อึ้ง)
บิดาของเจ้าพระยานิกรบดินทร ชุมชนย่านนี้นอกจากชาวจีนแล้ว ยังเป็น
ที่อยู่อาศัยของทั้งชาวโปรตุเกส ชาวมุสลิม ชาวไทย และยังมีพระภิกษุจีน
พำนักอยู่ด้วย ชาวบ้านจึงเรียกย่านนี้ว่า ชุมชนกะดีจีน หรือกุฎีจีน
การก่อสร้างพระอารามเริ่มลงมือเมื่อปีระกา พ.ศ.๒๓๖๘ เป็น
ปีที่ ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาท
สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “วัด
กัลยาณมิตร” ใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓
ขี้นกเขาเปล้า คือ มูลที่นกเขาเปล้าถ่ายออกมา ส่วนนกเขาเปล้าพจนานุกรมได้ให้ความหมายว่า ชื่อนกชนิดหนึ่งจำพวกเดียวกับนกเขาและนกพิราบลำตัวสีเขียวแตเละชนิดแตกต่าง กันตรงสีที่หน้าอกและไหล่อาจมีสีม่วงหรือสีน้ำตาลกินผลไม้ บางที เรียก เปล้า ตามประวัติขี้นกเขาเปล้าที่หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วนำมาสร้างพระเครื่องนั้นลูกศิษย์บอกว่าเป็นขี้ของนกกลางคืน ชนิดหนึ่งที่หาพบยาก ในทางไสยศาสตร์ถือว่าเป็นวัตถุอาถรรพณ์ชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาสร้างวัตถุมงคล
นก เขาเปล้าหรือนกกลางคืนชนิดนี้ เมื่อเวลาจิกอาหารตามพื้นดิน หรือจะกินอาหารจากที่ไหนก็ตาม ในอาหารที่นกกินจะมีแร่ธาตุบางชนิดผสมอยู่ เมื่อนกถ่ายมูลหรือขี้ออกมาก็จะมีแร่ธาตุนี้ผสมมูลหรือขี้ออกมาด้วย เมื่อนำเอามูลหรือขี้นกเขาเปล้าไปเคี่ยวในกระทะ ความร้อนจะทำให้ส่วนประกอบของเศษอาหารอื่นๆเผาไหม้ไปหมด ส่วนที่เป็นแร่ธาตุเหลือตกตะกอนเอาไว้ ซึ่งจะเป็นโลหะประเภทตะกั่ว แล้วจึงนำเอาเนื้อตะกั่วที่เหลือนี้มาหลอมแล้วเทเป็นพระเครื่อง
ผู้เข้าชม
9773 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ยังอยู่
โดย
พีพีพระใหม่
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
0894483434
ไอดีไลน์
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6
สิงห์1พ่อท่านเขียว 86ปีเศรษฐีก
พระกริ่งใหญ่ชินบัญชร 9 ฤกษ์ 9
พระบูชาหลวงปู่หลิวนั่งพญาเต่าเ
พระกริ่งชินบัญชรหลวงปู่ทิม บรม
พระกำลังแผ่นดิน สมเด็จจิตรลดา
พระกริ่งใหญ่ชินบัญชร 9 ฤกษ์ 9
เหรียญเจริญพรบนหลวงพ่อโสธร 9 ท
แหวนพญาเต่าเรือนหลวงปู่หลิว วั
พระปิดตาหลวงปู่เอี่ยมชนวนยันต์
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
OJO085121
someman
ยุ้ย พลานุภาพ
art2
เจริญสุข
TotoTato
เนินพระ99
Poosuphan89
บ้านพระสมเด็จ
อาร์ตกำแพงเพชร
Chobdoysata
แมวดำ99
aekvios
ปาล์ม บารมีเครื่องราง
stp253
DEAW
นักเลงพระ
บ้านพระหลักร้อย
Johnny amulet
pratharn_p
ว.ศิลป์สยาม
Nithiporn
อ้วนโนนสูง
เอี่ยวเสรีไทย
โกหมู
somphop
art1
art
ชาวานิช
เทพจิระ
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1324 คน
เพิ่มข้อมูล
-เหรียญหล่อเจ้าสัว วัดกัลยาณมิตรฯ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ เนื้อเงินผสมขี้นกเขาเปล้า (ห่วงเชื่อม) ปี 2558
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
-เหรียญหล่อเจ้าสัว วัดกัลยาณมิตรฯ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ เนื้อเงินผสมขี้นกเขาเปล้า (ห่วงเชื่อม) ปี 2558
รายละเอียด
-เจ้าสัวรุ่นนี้ จุดประสงค์ดี-มวลสารดี-พิธีใหญ่ ดังนี้
จุดประสงค์ดี คือ จัดสร้างเพื่อเป็นที่ระลึกที่ในหลวงทรงโปรดพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร
มวลสารดี จากมวลสารที่เข้มขลัง 5 รายการ ตามรายละเอียดที่ลงไว้
พิธีใหญ่ ด้วยบทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ด้วยเกจิที่เข้มขลัง 8 ท่าน
-พิธีมหาพุทธาภิเษก ณ.พระอุโบสถวัดกัลยาณมิตรฯ ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ด้วยการปลุกเสกจากพระเกจิชื่อดังหลายท่านร่วมพระพุทธมนต์ บทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ดังรายนามพระเกจิชื่อดังและสายตรงพระเจ้าสัว คือ
1.เจ้าคุณเที่ยง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.
2.หลวงพ่อคง วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
3.หลวงพ่อพร วัดบางแก้ว นครปฐม
4.หลวงพ่ออวยพร วัดดอนยายหอม นครปฐม
5.หลวงพ่อมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
6.หลวงพ่อเสงี่ยม วัดบ้านทวน กาญจนบุรี
7.หลวงพ่อตี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี
8.หลวงพ่อย้อน วัดโตนดหลวง เพชรบุรี
-เจ้าสัว เจริญ และ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี เป็นประธานเททองหล่อเหรียญพระเจ้าสัวรุ่นนี้ ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14.50 น. ณ.มลฑลพิธีข้างพระวิหารหลวง วัดกัลยาณมิตรฯ
ณ.สถานที่ที่เคยเททองหล่อ เหรียญเจ้าสัว รุ่นแรก ของหลวงปู่บุญ เมื่อ 84 ปีที่แล้ว
สุดยอดมวลสารพระเจ้าส้วรุ่นนี้ ประกอบด้วย
1.ชนวนก้านช่อพระชัย หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
2.ช่อพระเจ้าสัว วัดกลางบางแก้ว รุ่น3
3.ทองคำบางสะพาน จ.ประจวบฯ
4.ขี้นกเขาเปล้า ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
5.เงินพดด้วงดวงตราประจำรัชกาลที่ 3 (สัญลักษณ์ความเป็นเจ้าสัว)
แต่ละเบ้าโลหะประกอบด้วย
1.แผ่นทองคำจารดวงประสูติ 1 แผ่น น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
2.แผ่นทองคำจารดวงตรัสรู้ 1 แผ่น น้ำหนัก 8 กรัม
3.แผ่นพระยันต์มหาเศรษฐี น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
4.แผ่นทองแดงลงยันต์ 108 พระยันต์ นะปถะมัง 14 นะ รวม 122 แผ่น
5.แผ่นพระยันต์จารอักขระ โดยพระมหาเถระที่เชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนาสายหลวงปู่บุญ รวม 8 องค์ๆละ 1 แผ่น
ภาษาจีนด้านหลังของเจ้าสัวรุ่นนี้คือ
座山 จีนกลาง อ่านว่า “จั่วซัน”
-ถ้าแต้จิ้ว อ่านว่า “จ่อซัว” หมายถึง “เจ้าสัว” เพื่อเป็นมงคลและมั่งคั่ง ของผู้ที่ได้บูชาครอบครัว
-วัดกัลยาณมิตรฯ จึงถือว่าเป็น วัดเจ้าสัวโดยแท้จริง สืบเนื่องจากการสร้างเหรียญเจ้าสัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว รุ่นแรก ผู้ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญในการสร้างพระชุดนี้คือ พระวินัยกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรในสมัยนั้น โดยทำพิธีเททองหล่อ ณ. วัดกัลยาณมิตรฯ ในปี 2474
******************************************************
“ผู้สร้างวัดและความสำคัญของ วัดกัลยาณมิตรมหาวรวิหาร”
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓
เจ้าพระยานิกรบดินทร (เจ้าสัวโต ต้นสกุลกัลยาณมิตร) ว่าที่สมุหนายก
ชื่อจีนว่า เต๋า แซ่อึ้ง เมื่อครั้งยังเป็นพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดี
กลาง (ชื่อกรมในสมัยโบราณ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีไพร่พล
ตลอดจนการเกณฑ์ชายฉกรรจ์เข้ามาฝึกอาวุธและวิชาการรบ เพื่อเป็น
กำลังสำรองเวลาบ้านเมืองมีศึกสงคราม) ได้อุทิศที่บ้านและซื้อที่ดิน
บริเวณใกล้เคียงเพิ่มเติมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างพระอาราม ที่ดินบริเวณ
ที่จะสร้างวัดกัลยาณมิตรนี้เดิมในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่มีดิน เป็นแม่น้ำ
ดอนขึ้น ครั้งกรุงธนบุรีเป็นที่จอดแพได้ ครั้นนานวันผันกลับดอนเป็นดิน
กลายเป็นที่ตั้งบ้านเรือนของพ่อค้าชาวจีนฮกเกี้ยนที่ได้รับพระราชทาน
ที่ดินจากพระมหากษัตริย์ไทย เช่น หลวงพิชัยวารี (เจ้าสัวมั่ง แซ่อึ้ง)
บิดาของเจ้าพระยานิกรบดินทร ชุมชนย่านนี้นอกจากชาวจีนแล้ว ยังเป็น
ที่อยู่อาศัยของทั้งชาวโปรตุเกส ชาวมุสลิม ชาวไทย และยังมีพระภิกษุจีน
พำนักอยู่ด้วย ชาวบ้านจึงเรียกย่านนี้ว่า ชุมชนกะดีจีน หรือกุฎีจีน
การก่อสร้างพระอารามเริ่มลงมือเมื่อปีระกา พ.ศ.๒๓๖๘ เป็น
ปีที่ ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาท
สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “วัด
กัลยาณมิตร” ใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓
ขี้นกเขาเปล้า คือ มูลที่นกเขาเปล้าถ่ายออกมา ส่วนนกเขาเปล้าพจนานุกรมได้ให้ความหมายว่า ชื่อนกชนิดหนึ่งจำพวกเดียวกับนกเขาและนกพิราบลำตัวสีเขียวแตเละชนิดแตกต่าง กันตรงสีที่หน้าอกและไหล่อาจมีสีม่วงหรือสีน้ำตาลกินผลไม้ บางที เรียก เปล้า ตามประวัติขี้นกเขาเปล้าที่หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วนำมาสร้างพระเครื่องนั้นลูกศิษย์บอกว่าเป็นขี้ของนกกลางคืน ชนิดหนึ่งที่หาพบยาก ในทางไสยศาสตร์ถือว่าเป็นวัตถุอาถรรพณ์ชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาสร้างวัตถุมงคล
นก เขาเปล้าหรือนกกลางคืนชนิดนี้ เมื่อเวลาจิกอาหารตามพื้นดิน หรือจะกินอาหารจากที่ไหนก็ตาม ในอาหารที่นกกินจะมีแร่ธาตุบางชนิดผสมอยู่ เมื่อนกถ่ายมูลหรือขี้ออกมาก็จะมีแร่ธาตุนี้ผสมมูลหรือขี้ออกมาด้วย เมื่อนำเอามูลหรือขี้นกเขาเปล้าไปเคี่ยวในกระทะ ความร้อนจะทำให้ส่วนประกอบของเศษอาหารอื่นๆเผาไหม้ไปหมด ส่วนที่เป็นแร่ธาตุเหลือตกตะกอนเอาไว้ ซึ่งจะเป็นโลหะประเภทตะกั่ว แล้วจึงนำเอาเนื้อตะกั่วที่เหลือนี้มาหลอมแล้วเทเป็นพระเครื่อง
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
9810 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
พีพีพระใหม่
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0894483434
ID LINE
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี